Page 103 - saranuklom2 e-book
P. 103

สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
        Encyclopedia of Korat Study 2



                ๒.๔ ก�รฝึกซ้อม ครูมวยไทยส�ยโคร�ชในสมัยโบร�ณมีวิธีก�รฝึกนักมวยโดยอ�ศัย
        ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับก�รดำ�รงชีวิตประจำ�วัน ดังต่อไปนี้
                          ๒.๔.๑. ฝึกซ้อมโดยอ�ศัยวิธีธรรมช�ติ เช่น กระโดดโลดเต้นให้คล่องแคล่ว
                                                                  ้
        ปีนป่�ยต้นไม้ ใช้ฝ่�มือถูใบหน้�ให้ด้�นช� เพ่งแสงอ�ทิตย์ให้ส�ยต�กล้�แข็ง ว่�ยนำ�ให้ร่�งก�ย
                                                   ้
                        ้
        แข็งแกร่ง  ลืมต�ในนำ�  ต่อยเตะเข่�ศอกในอ�ก�ศและในนำ�  เป็นต้น  เพื่อให้ร่�งก�ยตื่นตัว
        คล่องแคล่ว แข็งแกร่ง อดทน และคุ้นเคยกับก�รต่อสู้
                                                               ้
                                  ้
                                                  ้
                          ๒.๔.๒. กระเดียดนำ� สมัยโบร�ณอ�ศัยนำ�ฝนและแหล่งนำ�ธรรมช�ติที่ไม่
        ไกลจ�กที่อยู่อ�ศัย ภ�ชนะที่ใช้เป็นกระบอกไม้ไผ่ชนิดหนึ่ง ปล้องย�วผิวบ�ง ทะลวงข้อขึ้นไป
                                                ้
                                       ้
        แต่ละกระบอกย�ว  ๑.๕๐  เมตร  ใช้ตักนำ�จ�กแหล่งนำ�แล้วเอ�แขนหนีบไว้กับช�ยโครงด้�น
                        ้
                                   ้
        ข้�งเรียก “กระเดียดนำ�”  ใช้วิธีนี้ตักนำ�ใส่ภ�ชนะบนบ้�น ทำ�เป็นประจำ�ทุกวันก่อให้เกิดกล้�ม
                                                        ้
        เนื้อตอนไหล่  พัฒน�เป็นต้นกำ�เนิดของวิช�ว่�ด้วยก�รกระเดียดนำ�  ปฏิบัติทุกวันช่วยทำ�ให้
        กล้�มเนื้อตรงช�ยโครงนั้นแข็งแกร่ง
                          ๒.๔.๓. ตำ�ข้�ว ตำ�ข้�วเป็นก�รบริห�รข้อมือ เป็นก�รพัฒน�กล้�มเนื้อ
                                                                          ้
        ข้อมือ หลังแขน ช่วงไหล่ หน้�ท้อง ลักษณะของส�กตำ�ข้�วของไทยนั้นใช้ไม้เนื้อแข็ง มีนำ�
        หนักประม�ณ ๕-๖ กิโลกรัม คอดกิ่วตรงกล�ง คนตำ�จะต้องจับส�กตรงกล�งยกแขนขึ้นสุด

        แขน ประคองตำ�ให้ตรงกึ่งกล�งครก ก�รยกส�กขึ้น ๆ ลง ๆ นับชั่วโมงเป็นประจำ�ทุกวัน
                                           ้
        เป็นก�รบริห�รร่�งก�ยคล้�ยพวกนักกล้�มยกนำ�หนักในปัจจุบัน
                           ๒.๔.๔. ผ่�ฟืน กิจวัตรในก�รยังชีพอีกอย่�งหนึ่งก็คือ ก�รใช้ฝืนหุงห�อ�ห�ร
        คนโบร�ณจะต้องห�ฟืนในป่� ถ้�เป็นไม้ท่อนก็จะต้องใช้ขว�นโยน โดยต้องใช้สองมือจับที่ด้�ม
        ขว�นบั่นท่อนไม้ลงม� ทำ�ให้กำ�ลังข้อมือ ไหล่ สันหลัง ข� หน้�อก และหน้�ท้องแข็งแกร่งขึ้น
                          ๒.๔.๕. เตะต้นกล้วย สมัยโบร�ณไม่มีกระสอบทร�ยสำ�หรับก�รฝึก
        ซ้อม ครูมวยจะให้ลูกศิษย์ไปตัดต้นกล้วยซึ่งเป็นวัตถุห�ได้ง่�ย ขน�ดศูนย์กล�ง ๕-๖ นิ้ว ย�ว
        ประม�ณ ๓ ศอก ตั้งให้ตรงกับพื้น แล้วให้ผู้ฝึกฝึกเตะต้นกล้วยให้ได้ทั้งเท้�ซ้�ยและเท้�ขว�
                                                                  ่
        พย�ย�มเตะเลี้ยงต้นกล้วยไม่ให้ล้มและต้องผลัดเปลี่ยนก�รเตะตั้งแต่ระดับตำ�ถึงระดับสูง
        (เรียกว่�เตะบนเตะล่�งสลับกัน) เมื่อเกิดคว�มชำ�น�ญและคล่องแคล่วดีแล้ว ก็จะค่อย ๆ ผลัด
        เปลี่ยนเป็นเตะต้นกล้วยที่มีขน�ดใหญ่ขึ้น
                          ๒.๔.๖. ชกลูกมะน�ว ก�รฝึกร่�งก�ยให้เข้มแข็งนั้นยังไม่พอใจของครู
        ต้องฝึกก�รป้องกันส่วนที่สำ�คัญคือใบหน้� โดยใช้ลูกมะน�วผูกติดกับด้�ยแขวนห้อยไว้กับ
        ไม้รวก ห่�งกันพอประม�ณ ๔-๕ ลูก ระดับเสมอคอ ผู้ฝึกจะใช้หมัด ศอก และแขนรับ โดยมี
                                          86
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108