Page 13 - saranuklom2 e-book
P. 13
สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
Encyclopedia of Korat Study 2
คำ�ชี้แจงวิธีก�รจัดทำ�
หลักก�รและเหตุผลในก�รจัดทำ�
จังหวัดนครร�ชสีม� เป็นจังหวัดที่ใหญ่เป็นลำ�ดับที่สองรองจ�กกรุงเทพมห�นคร
เป็นจังหวัดที่มีประวัติคว�มเป็นม�ย�วน�น รวมทั้งมีศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของ
ตนเองหล�ยอย่�ง หรือมีมรดกภูมิปัญญ�ท�งวัฒนธรรม ซึ่งพระร�ชบัญญัติส่งเสริมและ
รักษ�มรดกท�งวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙ นิย�มคว�มหม�ยไว้ว่�เป็นคว�มรู้ ก�รแสดงออก
ก�รประพฤติปฏิบัติหรือทักษะท�งวัฒนธรรมที่แสดงออกผ่�นบุคคล เครื่องมือ หรือวัตถุ
ซึ่งบุคคล กลุ่มบุคคล หรือชุมชนยอมรับและรู้สึกเป็นเจ้�ของร่วมกันและมีก�รสืบทอดกันม�
จ�กคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง โดยอ�จมีก�รปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองต่อสภ�พแวดล้อม
ของตน และมรดกภูมิปัญญ�ท�งวัฒนธรรมดังกล่�วครอบคลุมศิลปะก�รแสดง เช่น เพลง
โคร�ช น�ฏศิลป์ อันได้แก่ ก�รเล่นลิเก แม้ว่�จะไม่ใช่ศิลปะก�รแสดงอันเป็นเอกลักษณ์ของ
คนโคร�ชโดยตรง แต่เป็นศิลปะก�รแสดงที่มีคณะลิเกม�ตั้งรกร�กและทำ�ก�รแสดงที่จังหวัด
นครรร�ชสีม�ม�กม�ย จังหวัดนครร�ชสีม�ยังมีเอกลักษณ์ท�งด้�นศิลปะและวัฒนธรรม
ด้�นง�นช่�งฝีมือดั้งเดิม ได้แก ่เครื่องจักรส�น หรือง�นเสื้อผ้�อันเป็นเอกลักษณ์เฉพ�ะ
มีวรรณกรรมพื้นบ้�น ได้แก่ ตำ�น�น บทสวด เป็นต้น มีศิลปะและวัฒนธรรมที่เป็นกีฬ�
ภูมิปัญญ�ไทย เช่น ก�รเล่นสะบ้� มีศิลปะและวัฒนธรรมที่เป็นแนวปฏิบัติท�งสังคม อันได้แก่ พิธีกรรม
ง�นเทศก�ล ขนบธรรมเนียมที่เกี่ยวข้องศ�สน� มีศิลปะและวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับคว�มรู้
และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมช�ติและจักรว�ล อันได้แก่ โหร�ศ�สตร์ และที่สำ�คัญคือจังหวัด
นครร�ชสีม�มีเอกลักษณ์ด้�นศิลปะและวัฒนธรรมท�งด้�นภ�ษ�เรียกว่� ภ�ษ�โคร�ช อันเป็น
ภ�ษ�ถิ่นที่ช�วจังหวัดนครร�ชสีม�หรือช�วโคร�ชส่วนใหญ่ใช้พูดสื่อส�รกันซึ่งแสดงให้เห็นถึง
คว�มลึกซึ้งท�งด้�นภ�ษ�ที่ใช้สื่อส�รเพื่อสร้�งคว�มรู้และคว�มเข้�ใจระหว่�งกันและกัน
ซึ่งส่งผลให้ช�วโคร�ชอยู่ร่วมกันอย่�งมีคว�มสุข
ศิลปะและวัฒนธรรมของจังหวัดนครร�ชสีม�หรือโคร�ชซึ่งครอบคลุมประเด็นด้�น
ศิลปะก�รแสดง ง�นช่�งฝีมือดั้งเดิม วรรณกรรมพื้นบ้�น กีฬ�ภูมิปัญญ�ไทย แนวปฏิบัติท�ง
สังคม คว�มรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมช�ติและจักรว�ล และด้�นภ�ษ� ดังที่ได้กล่�วม�
นั้น ห�กไม่ได้มีก�รบันทึกไว้เป็นล�ยลักษณ์อักษรเพื่อเป็นก�รอนุรักษ์ สืบทอดแล้ว ย่อมจะ
ก่อให้เกิดคว�มสูญห�ย หรือก่อให้เกิดก�รอันตรธ�นสูญห�ยไป ซึ่งอ�จทำ�ให้อนุชนรุ่นหลังข�ด
ญ 4