Page 14 - saranuklom2 e-book
P. 14

สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
                                                          Encyclopedia of Korat Study 2



          คว�มรู้ ข�ดคว�มเข้�ใจในร�กเหง้�อันเป็นพื้นฐ�นของตนเอง ทั้งนี้เพร�ะกระแสคว�มรุนแรง
          ของวัฒนธรรมตะวันตกมีส่วนทำ�ให้เย�วชนมีจิตใจโน้มเอียงไปในท�งที่เห็นคุณค่�ของ

          วัฒนธรรมด้�นวัตถุม�กกว่�วัฒนธรรมท�งจิตใจ  แม้ว่�ปฏิเสธไม่ได้ว่�วัตถุที่เป็นศ�สนสถ�น
          หรือเป็นโบร�ณวัตถุต่�ง ๆ ก็เป็นวัฒนธรรมท�งวัตถุ แต่เป็นวัตถุที่เกิดม�จ�กก�รหล่อหลอม
          จ�กจิตใจที่เกิดจ�กคว�มศรัทธ�เลื่อมใส  อันนำ�ไปสู่คว�มรักคว�มหวงแหนท�งด้�นศิลปะ
          และวัฒนธรรมอันดี  ซึ่งประช�ชนไทยทุกคนจำ�เป็นต้องปลูกฝังให้เย�วชนหรือทุกคนได้มีส่วน

          ร่วมในก�รทำ�นุบำ�รุงต่อไป  นอกจ�กนั้นสถ�บันก�รศึกษ�โดยเฉพ�ะสถ�บันอุดมศึกษ�  ยังมี
          บทบ�ทหน้�ที่หรือมีพันธกิจในด้�นต่�ง ๆ ซึ่งหนึ่งในพันธกิจเหล่�นั้นคือ ก�รทำ�นุบำ�รุงศิลปะ
          และวัฒนธรรมซึ่งถือว่�เป็นกิจกรรมสำ�คัญ เพร�ะว่�บทบ�ทหน้�ที่ของสถ�บันอุดมศึกษ�โดย
          เฉพ�ะมห�วิทย�ลัยวงษ์ชวลิตกุล  มีบทบ�ทหน้�ที่ในก�รสอนในด้�นคว�มรู้  สติปัญญ�  และ

          ปลูกฝังในด้�นคุณธรรมจริยธรรม  ซึ่งครอบคลุมถึงภูมิปัญญ�  ครอบคลุมหรือเกี่ยวข้องกับ
          ก�รปลูกฝังให้รักและหวงแหนในศิลปะและวัฒนธรรมของตนเองและของช�ติอีกด้วย  ดังนั้น
          มห�วิทย�ลัยซึ่งได้ตระหนักถึงคว�มสำ�คัญนี้  จึงได้จัดทำ�ส�ร�นุกรมโคร�ชศึกษ�  (Encyclo-
          pedia of Korat Study) ซึ่งหม�ยถึงก�รศึกษ�เกี่ยวกับจังหวัดนครร�ชสีม�หรือโคร�ช โดย

          เน้นท�งด้�นศิลปะและวัฒนธรรม ครอบคลุมแขนงท�งด้�น (๑) ศิลปะก�รแสดง (๒) ง�นช่�ง
          ฝีมือดั้งเดิม (๓) วรรณกรรมพื้นบ้�น (๔) ภูมิปัญญ�ไทย (๕) แนวปฏิบัติท�งสังคม (๖) คว�ม
          รู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมช�ติและจักรว�ล และ (๗) ภ�ษ�  ก�รจัดทำ�ส�ร�นุกรมโคร�ช
          ศึกษ�จึงเป็นก�รเก็บรวบรวมคว�มรู้ทุกแขนงดังกล่�ว  หรือแขนงใดแขนงหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับ

          โคร�ชอันเป็นก�รศึกษ�เกี่ยวกับโคร�ชหรือโคร�ชศึกษ� ส�ร�นุกรมโคร�ชศึกษ�ดังกล่�ว
          จึงสอดคล้องกับคว�มหม�ยของคำ�ว่�ส�ร�นุกรมที่ร�ชบัณฑิตยสถ�น (๒๕๕๖ : ๑๒๒๔) ได้ให้ไว้
          ว่�เป็นหนังสือที่รวบรวมคว�มรู้ทุกแขนงหรือเฉพ�ะแขนงใดแขนงหนึ่ง มักเรียงต�มลำ�ดับตัวอักษร
                 ก�รจัดทำ�ส�ร�นุกรมโคร�ชศึกษ�ครั้งนี้  จึงเป็นก�รจัดทำ�เอกส�รที่จะส�ม�รถเอื้อ

          อำ�นวยให้เย�วชน ครูอ�จ�รย์ ผู้บริห�ร นักวิช�ก�รหรือผู้ที่มีคว�มสนใจโดยทั่วไป ได้ใช้เป็นเอกส�ร
          สำ�หรับก�รศึกษ�ห�คว�มรู้  ใช้เป็นเอกส�รสำ�หรับก�รอ้�งอิง  และที่สำ�คัญอย่�งยิ่งจะเป็นเอกส�ร
          สำ�หรับก�รอนุรักษ์  สืบส�น  ปรับปรุง  เปลี่ยนแปลงท�งด้�นศิลปะและวัฒนธรรมให้มั่นคง  มั่งคั่ง
          และยั่งยืนสืบไป


                                         5
                                         ฎ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19