Page 87 - saranuklom2 e-book
P. 87
สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
Encyclopedia of Korat Study 2
๑.ประวัติของเพลงโคร�ชต�มตำ�น�นที่ ๑ เป็นเรื่องเล่�สืบต่อกันม�ว่�เพลงโคร�ช
เกิดขึ้นม�จ�กพระย�เข็มเพชร (เกิดในสมัยใดไม่มีใครทร�บ) ได้ไปเจริญสัมพันธไมตรีที่
ประเทศอินเดียและได้นำ�ศิลปะก�รร้องรำ�จ�กอินเดียม�เผยแพร่ในประเทศไทย ๓ ประเภท
คือ ลิเก ลำ�ตัด และเพลง โดย “เพลง” ที่นำ�ม�เผยแพร่นั้นได้มอบให้น�ยจัน บ้�นสก ซึ่งเป็น
ช�วโคร�ชรับไปเผยแพร่ที่เมืองโคร�ช น�ยจัน บ้�นสก จึงได้นำ�เพลงที่เป็นศิลปะอินเดียม�
ต่อเติมเสริมแต่งจนเป็นที่นิยมแพร่หล�ยในหมู่ช�วโคร�ช จึงเรียกกันว่� “เพลงโคร�ช”
ต�มตำ�น�นนี้ยังมีร่องรอยในปัจจุบันคือ มีชุมชนบ้�นสก อยู่ในเขตเทศบ�ลนครนครร�ชสีม�
ซึ่งตั้งอยู่บริเวณถนนวัชรสฤษดิ์ ใกล้สถ�นีรถไฟชุมท�งถนนจิระ
๒.ประวัติของเพลงโคร�ชต�มตำ�น�นที่ ๒ เป็นเรื่องเล่�สืบต่อกันม�ว่�
เพลงโคร�ชเกิดขึ้นม�จ�กน�ยพร�นคนหนึ่งชื่อว่� เพชรน้อย เป็นช�วบ้�นกระโทก
(ปัจจุบันเป็นอำ�เภอโชคชัย) ออกไปล่�สัตว์ในป่�หนองบุนน�ค ด้วยคว�มบังเอิญพร�นเพชรน้อย
้
ได้พบเห็นลูกส�วพญ�น�คขึ้นม�จ�กบึงหนองนำ�ใหญ่ ม�นั่งร้องเพลงอยู่คนเดียว พร�น
เพชรน้อยแอบฟังเพลงนั้นรู้สึกประทับใจในคว�มไพเร�ะและเนื้อห�ของเพลง จึงจำ�เนื้อ
เพลงและทำ�นองม�ร้องให้ช�วบ้�นฟัง จนเป็นที่นิยมแพร่หล�ยในหมู่ช�วบ้�นและมีก�ร
เพิ่มเติม ต่อเติมเนื้อห� และร้องสืบต่อกันม�จนเป็นเพลงโคร�ช
ประวัติเพลงโคร�ชที่มีเหตุก�รณ์ปร�กฏจริงมีก�รบันทึกหลักฐ�นไว้
ก�รเล่นเพลงโคร�ชนั้นมีลักษณะคล้�ยกับเพลงพื้นบ้�นในภ�คกล�ง เช่น เพลงฉ่อย
เพลงพ�ดคว�ยหรือเพลงทรงเครื่องคือ เป็นก�รร้องโต้ตอบระหว่�งช�ยหญิง มีลำ�ดับในก�ร
เล่นและไม่มีก�รใช้เครื่องดนตรีใด ๆ เลย อนึ่งคว�มส�ม�รถในก�รแต่งบทกลอนของคน
ไทยในสมัยก่อน จึงเกิดเป็นก�รร้องเพลงในภูมิภ�คต่�ง ๆ ขึ้น สำ�หรับเพลงโคร�ชมีก�รกล่�ว
ถึงตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งในสมัยของท้�วสุรน�รี (พ.ศ. ๒๓๑๓-
พ.ศ. ๒๓๙๕) และเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖ สมเด็จพระศรีพัชรินทร�บรมร�ชนนี ได้เสด็จม�จังหวัด
นครร�ชสีม�เพื่อทำ�พิธีเปิดถนนจอมสุร�งค์ย�ตร์ และได้เสด็จไปอำ�เภอพิม�ย ในครั้งนั้นมี
หมอเพลงโคร�ชชื่อ น�ยหรี่ บ้�นสวนข่� ได้ทำ�ก�รแสดงเล่นเพลงโคร�ชถว�ยหน้�พระที่นั่ง
นอกจ�กนี้ตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ เริ่มมีง�นฉลองชัยชนะของท้�วสุรน�รีก็ได้มีก�รเล่นเพลง
โคร�ชที่บริเวณล�นอนุส�วรีย์ท้�วสุรน�รีม�จนถึงปัจจุบัน (สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม
มห�วิทย�ลัยร�ชภัฏนครร�ชสีม�, ๒๕๕๔)
70