Page 63 - saranuklom2 e-book
P. 63

สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
        Encyclopedia of Korat Study 2



        ทั้งที่ยังมิได้มีก�รประก�ศใช้ “พระร�ชบัญญัติขน�นน�มสกุล” อย่�งไรก็ต�ม ในประก�ศชุดแรก
        ต�มพระร�ชบัญญัตินี้ น�มสกุลพระร�ชท�น “สุขุม” ที่ทรงพระร�ชท�นแด่เจ้�พระย�ยมร�ช
                พระร�ชกิจจ�นุเบกษ� เล่ม ๒๙ หน้� ๒๘ก วันที่ ๓๐ มีน�คม ๒๔๕๕ มีก�รลง
        ประก�ศพระร�ชบัญญัติขน�นน�มสกุล พุทธศักร�ช ๒๔๕๖ โดยพระบ�ทสมเด็จพระ

        ปรเมนทรมห�วชิร�วุธ  พระมงกุฎเกล้�เจ้�อยู่หัว  ดำ�รัสเหนือเกล้�ประก�ศให้ทร�บทั่วกันว่�
        “พระบ�ทสมเด็จพระปรเมนทรมห�วชิร�วุธพระมงกุฎเกล้�เจ้�อยู่หัว  ทรงพระร�ชดำ�ริเห็นว่�
        สมควรจะมีบัญญัติวิธีจดทะเบียน  คนเกิดคนต�ยแลคนทำ�ง�น  คนสมรส    ให้เป็นก�รมั่นคง
        ชัดเจนสืบไป  และวิธีจดทะเบียนอันนี้ให้อ�ศัยสอบสวนตำ�หนิรูปพรรณสัณฐ�นทุกบุคคล
        เทือกเถ�เหล่�กอ    สืบม�แต่บิด�ม�รด�ใด    ให้ได้คว�มแม่นยำ�ก่อนจึงจดทะเบียน  เพื่อจะให้
        เป็นผลสำ�เร็จดังพระประสงค์  ทรงพระร�ชดำ�ริว่�  บุคคลทุกคนต้องมีทั้งชื่อตัวและชื่อสกุลแลวิธี
        ขน�นน�มสกุล ควรให้ใช้แพร่หล�ยทั่วถึงประช�ชนพลเมืองตลอดทั้งพระร�ชอ�ณ�จักร
        จึงทรงพระกรุณ�โปรดเกล้�ฯ ให้ตร�พระร�ชบัญญัติขน�นน�มสกุล โดยเฉพ�ะในม�ตร� ๓ ระบุ
        ข้อคว�มว่�  ชื่อของคนไทยทุกคนต้องประกอบด้วยชื่อตัวและชื่อสกุล  ม�ตร�  ๔  ชื่อเป็นชื่อ
        อันใดให้เด็กตั้งแต่เกิด ม�ตร� ๕ ชื่อสกุลเป็นชื่อประจำ�วงษ์สกุล ซึ่งสืบเนื่องม�แต่บิด�ถึงบุตร
        ม�ตร� ๖ หญิงที่ทำ�ง�น มีส�มีแล้วให้ใช้ชื่อสกุลของส�มี แลให้คงชื่อตัวที่ม�จ�กสกุลเดิม

                นอกจ�กนั้น ในร�ยละเอียดร�ชกิจจ�นุเบกษ�เล่มดังกล่�ว  ยังได้กำ�หนด
        ร�ยละเอียดก�รใช้น�มสกุลไว้อย่�งเป็นระบบ เมื่อสังคมเจริญขึ้น มีคว�มสลับซับซ้อนม�กขึ้น
        ก�รกำ�หนดชื่อสกุลจึงเป็นเครื่องมือที่จำ�เป็นในก�รจัดระบบเครือญ�ติที่ส�ม�รถสืบส�ยโลหิต
        ได้ด้วย


        หลักก�รและคว�มนิยมในก�รตั้งชื่อน�มสกุล

                ก�รกำ�หนดหลักก�รตั้งน�มสกุลที่มีม�ตั้งแต่รัชสมัยของพระบ�ทสมเด็จพระ
        มงกุฎเกล้�เจ้�อยู่หัว ที่ได้มีพระบรมร�ชโองก�รโปรดให้เจ้�พระย�ยมร�ช (ปั้น สุขุม) ผู้ได้รับ
        พระร�ชกระแสให้รีบดำ�เนินง�นขน�นน�มสกุลแก่ประช�ชน  โดยให้มีก�รแบ่งท้องที่ที่จะจด
        ทะเบียนน�มสกุลให้ได้ทั่วร�ชอ�ณ�จักรโดยเร็วที่สุด โดยมีหลักก�รก�รตั้งชื่อสกุลดังนี้
                ๑. ตั้งต�มชื่อของบรรพบุรุษ (ปู่ ย่� ต� หรือย�ย)
                ๒. ข้�ร�ชก�รที่มีร�ชทินน�ม ให้นำ�ร�ชทินน�มม�ตั้งเป็นน�มสกุลของตน เช่น
        หลวงพิบูลสงคร�ม (แปลก) ใช้น�มสกุล “พิบูลสงคร�ม”
                ๓. ตั้งต�มสถ�นชื่อตำ�บลที่อยู่อ�ศัย
                                          46
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68