Page 48 - saranuklom2 e-book
P. 48

สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
                                                          Encyclopedia of Korat Study 2



          ตำ�แหน่งพลและกรมก�ร  ตำ�แหน่งมห�ดไทย  และพนักง�นเมือง  วัง  คลัง  น�  เช่น  เมือง
          พิษณุโลก สุโขทัย นครร�ชสีม� และทว�ย จัดเป็น เมือง เอก โท ตรี พระมห�กษัตริย์ทรงแต่ง
          ตั้งพระร�ชวงศ์หรือข้�ร�ชก�รชั้นผู้ใหญ่ไปเป็นเจ้�เมืองมีอำ�น�จบังคับบัญช�เป็นสิทธิข�ด
          เป็นผู้แทนองค์พระมห�กษัตริย์ มีกรมก�รปกครองในตำ�แหน่ง เมือง วัง คลัง น� เช่นเดียวกับ

          ของท�งร�ชธ�นี
                 เมืองประเทศร�ช  เป็นเมืองที่ขึ้นตรงกับเมืองหลวง  เป็นเมืองที่มีก�รให้เจ้�เมือง
          ปกครองกันเอง  เพียงแต่ส่งเครื่องร�ชบรรณ�ก�รม�ถว�ยต�มกำ�หนด  และเกณฑ์ผู้คนและ
          ทรัพย์สินเพื่อช่วยร�ชก�รสงคร�ม
                 จ�กลักษณะก�รแบ่งก�รปกครองเป็นหัวเมืองชั้นใน  ชั้นนอกและเมืองประเทศร�ช
          นี้จะพบว่�นครร�ชสีม�  จัดอยู่ในประเภทหัวเมืองชื้นนอกหรือเมืองพระย�มห�นคร  ลุถึง
          รัชสมัยของพระเจ้�เอก�ทศรถ  ประม�ณพุทธศักร�ช  ๒๑๔๘  ช�วตะวันตกเริ่มเข้�ม�ติดต่อ
          ท�งก�รค้� โดยเฉพ�ะช�วดัทช์ ช�วฮอลันด�หรือช�วประเทศเนเธอแลนด์ในปัจจุบัน ได้เข้�
          ม�ทำ�ก�รค้�ข�ย  แต่พอถึงรัชสมัยของพระเจ้�ปร�ส�ททอง  พุทธศักร�ช  ๒๑๗๓  ก�รติดต่อ
          สัมพันธ์ไมตรีกับช�วดัทช์ ไม่ค่อยร�บรื่น และเมื่อถึงรัชสมัยของสมเด็จพระน�ร�ยณ์มห�ร�ช
          พุทธศักร�ช  ๒๒๐๔  ช�วดัทช์  ได้มีก�รจับเรือสินค้�ของสย�ม  สมเด็จพระน�ร�ยณ์มห�ร�ช

          ได้ทรงเล็งเห็นก�รณ์ไกล  จึงได้เริ่มก�รสร้�งคว�มสัมพันธ์กับฝรั่งเศส  เช่น  ให้ช่�งช�วฝรั่งเศส
          ม�ว�งระบบต่�ง ๆ รวมทั้งระบบก�รสร้�งเมือง ก�รว�งผังเมือง จังหวัดนครร�ชสีม�ก็ได้รับ
          ประโยชน์จ�กก�รสร้�งพระร�ชไมตรีในรัชสมัยของพระองค์ด้วย โดยเมื่อพุทธศักร�ช ๒๒๑๗
          โปรดให้ย้�ยเมืองม�ตั้งในที่ปัจจุบัน  เพร�ะได้ทรงเล็งเห็นว่�เป็นเมืองหน้�ด่�น  เป็นเมืองใหญ่
          ระดับเมืองเจ้�พระย�มห�นคร  จึงจำ�เป็นต้องสร้�งป้อมปร�ก�รให้แข็งแรง  เมื่อย้�ยม�แล้ว
          จึงโปรดให้ช่�งช�วฝรั่งเศส  สร้�งเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้�  กว้�ง  ๑,๐๐๐  x  ย�ว  ๑,๗๐๐
          และโปรดให้นำ�คำ�ว่�เมืองโคร�ชและเมืองเสม�  ม�รวมกันตั้งเป็นชื่อว่�นครร�ชเสม�  หรือ
          นครร�ชสีม�  และโปรดให้เจ้�พระย�ยมร�ช  (สังข์)  เป็นเจ้�เมืองเป็นคนแรก  ต่อม�ถึงสมัย
          รัตนโกสินทร์ โดยเฉพ�ะในรัชสมัยของพระบ�ทสมเด็จพระจุลจอมเกล้�เจ้�อยู่หัว รัชก�ล

          ที่ ๕ มีก�รติดต่อสัมพันธ์ไมตรีกับประเทศตะวันตก จึงโปรดให้มีก�รสร้�งท�งรถไฟ ติดต่อ
          เป็นระบบคมน�คมจ�กกรุงเทพมห�นครถึงจังหวัดนครร�ชสีม� และโปรดให้มีว�งระบบ
          ก�รปกครอง โดยมีผู้ว่�ร�ชก�รจังหวัดเป็นระดับหัวหน้�รับผิดชอบปกครองในจังหวัด
          ดังนั้นจังหวัดนครร�ชสีม�จึงมีพระย�กำ�แหงสงคร�ม (ก�จ สิงหเสนี) เป็นผู้ว่�ร�ชก�รจังหวัด
          นครร�ชสีม�เป็นคนแรกในปีพุทธศักร�ช ๒๔๓๙ และจวบจนถึงปัจจุบันมีผู้ว่�ร�ชก�รจังหวัด
                                         31
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53