Page 44 - saranuklom2 e-book
P. 44
สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
Encyclopedia of Korat Study 2
พุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ จ�รึกหลักนี้ปร�กฏอยู่ในหนังสือเรื่องจ�รึกแห่งประเทศกัมพูช�
(Inscriptions du Cambodge) เล่มที่ ๖ คริสต์ศักร�ช ๑๙๕๔ หน้� ๘๓-๘๕ ของศ�สตร�จ�รย์
ยอร์จ เซเดส์ (คณะกรรมก�รจัดพิมพ์เอกส�รท�งประวัติศ�สตร์ สำ�นักน�ยกรัฐมนตรี, ๒๕๑๓
: ๒๒๑-๒๒๔) และมีข้อคว�มที่เป็นคำ�กล่�วว่�ดินแดนซึ่งมีชื่อเรียกว่�บ่ออีก�นี้ ตั้งอยู่ท�งทิศ
ใต้ของเมืองร�ชสีม�เก่� คือตำ�บลโคร�ชปัจจุบัน ในบรรด�โบร�ณวัตถุที่ค้นพบ ณ สถ�นที่
แห่งนี้มีจ�รึกศิล�ทร�ยสีแดง ขน�ดประม�ณ ๑.๑๐ X ๐.๕๖ X ๐.๒๕ เมตร หลักหนึ่ง ศิล�
จ�รึกนี้แตกออกเป็นสองส่วน แต่ละด้�นมีจ�รึกเป็นภ�ษ�สันสกฤต ใช้ตัวอักษรสมัยก่อนสร้�ง
เมืองพระนครในประเทศกัมพูช� จ�รึกที่เก่�ที่สุด จ�รึกนี้ประกอบเป็นค�ถ�สรัคธร� จ�รึก
บทนี้สลักด้วยตัวอักษรขน�ดใหญ่ เหนือขึ้นไปนั้น มีร่องรอยจ�รึกอีกบรรทัดหนึ่ง สลักด้วยตัว
อักษรที่มีขน�ดเล็กม�ก ไม่ส�ม�รถอ่�นออกได้ นอกจ�กอ่�นได้ว่� ยุค… อตต เต ท�ส� จ�รึก
ที่อ่�นส�ม�รถทร�บเนื้อคว�มได้ว่�เกี่ยวกับพุทธศ�สน� และกล่�วถึงพระร�ช�แห่งอ�ณ�จักร
ศรีจ�น�ศะ ทรงอุทิศปสุสัตว์และท�สทั้งหญิงช�ยถว�ยแด่พระภิกษุสงฆ์ อ�ณ�จักรนี้คงเป็น
อ�ณ�จักรเดียวที่มีชื่อปร�กฏว่�ศรีจ�น�ศะและจ�น�ศปุระ ในจ�รึกภ�ษ�สันสกฤตและขอม
พุทธศักร�ช ๑๔๘๐ ซึ่งค้นพบที่พระนครศรีอยุธย�ที่เรียกว่�จ�รึกศรีจ�น�ศะ และได้กล่�ว
ถึงร�ยพระน�มของพระร�ช�ที่เป็นคนละวงศ์กับพระร�ช�แห่งประเทศกัมพูช� ก�รค้นพบ
จ�รึก พุทธศักร�ช ๑๔๘๐ (ที่กล่�วถึงเมืองศรีจ�น�ศะ) บนเก�ะพระนครศรีอยุธย� ก็ไม่ได้
หม�ยคว�มว่�จ�รึกหลักนี้จะต้องสร้�งขึ้นที่นั่น
หลักฐ�นสำ�คัญของจ�รึกหลักนี้ก็คือทำ�ให้ทร�บว่�ในพุทธศักร�ช ๑๔๑๑ ดินแดน
แถบจังหวัดนครร�ชสีม�ซึ่งอ�จเป็นศูนย์กล�งของอ�ณ�จักรโบร�ณชื่อศรีจ�น�ศะ นั้น
ยังไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศกัมพูช� จ�รึกที่เป็นภ�ษ�สันสกฤตที่ถอดคว�มเป็นภ�ษ�
ไทยและมีคำ�แปลซึ่งศ�สตร�จ�รย์หม่อมเจ้�สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงแปลม�จ�กต้นฉบับภ�ษ�
่
ฝรั่งเศสเป็นภ�ษ�ไทย และศ�สตร�จ�รย์ฉำ� ทองคำ�วรรณ ตรวจแก้ภ�ษ�ไทย มีคำ�แปลจ�รึก
ด้�นที่ ๑ ที่ยกม�เป็นสังเขปดังนี้
กระบือตัวเมียรูปร่�งสมบูรณ์ ๒๐ ตัวพร้อมกับแม่โค ๕๐ ตัว มีถันถ่วงหนักพร้อมกับ
ลูกโคอ้วนพี ท�สหญิงช�ย ๑๐ คน มีจิตใจรื่นเริง ……จำ�นวน ๔ สิ่งเหล่�นี้ พระร�ช�แห่งศรี
จ�น�ศะ ได้ถว�ยไว้แด่พระภิกษุสงฆ์ เพื่อทรงมุ่งหวังพระสัมม�สัมโพธิญ�ณ และคำ�แปลจ�รึก
ด้�นที่ ๒ ที่ยกม�เป็นสังเขปดังนี้ข้�พเจ้�ขอเค�รพธุลีพระบ�ทของพระผู้ซึ่งมีพระเนตรดุจดัง
ดวงอ�ทิตย์ ดวงจันทร์ และไฟ ทรงเพรียบพร้อมไปด้วยคุณลักษณะขั้นต้นทุกประก�ร ทรงมี
ธงคือโค …. อันอ่อนนุ่ม
27