Page 46 - saranuklom2 e-book
P. 46

สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
                                                          Encyclopedia of Korat Study 2



          กับรับสั่งว่�นี่คือพระม�รด�ของข้�พเจ้�หรือไฉน
                 ๓.  มีพระร�ช�หล�ยองค์  ผู้ทรงมั่งคั่งด้วยทรัพย์สมบัติแห่งโลก  ผู้ทรงมีโชคล�ภได้
          ปกครองดินแดนแห่งจ�น�ศปุระ พระองค์แรกทรงพระน�มว่�ภคทัตต์
                 ๓. จ�รึกเมืองเสม� เป็นศิล�จ�รึกขอมสมัยพระนคร (ประม�ณพุทธศักร�ช ๑๕๑๔)

          หรือที่ช�วบ้�นเรียกว่�จ�รึกเมืองเสม�สมัยพระนคร  ลงศักร�ชเป็นพุทธศักร�ช  ๑๕๑๔  พบ
          ที่คูน้ำ�รอบกำ�แพงคันดินเมืองเสม�  พุทธศักร�ช  ๒๕๒๖  หลังจ�กขุดค้นพบได้เก็บรักษ�ไว้
          ที่ที่ว่�ก�รอำ�เภอสูงเนินเป็นเวล�  ๑  ปี  และได้แจ้งไปยังกรมศิลป�กร  ปัจจุบันเก็บรักษ�ไว้ที่
          พิพิธภัณฑสถ�นแห่งช�ติมห�วีรวงศ์บริเวณวัดสุทธจินด� อำ�เภอเมือง นครร�ชสีม� ศิล�จ�รึก
          นี้ ได้พิมพ์รวมอยู่ในหนังสือจ�รึกในประเทศไทย เล่ม ๓ พิมพ์เมื่อพุทธศักร�ช ๒๕๒๙ เป็น
          จ�รึกภ�ษ�สันสกฤตปนกับภ�ษ�เขมร โดยจ�รึกเป็นอักษรขอมโบร�ณสมัยพระนคร ลักษณะ
          จ�รึกสร้�งด้วยหินทร�ยสีเท� ขน�ดกว้�ง ๐.๔๖ เมตร สูง ๐.๙๙ เมตร หน�ประม�ณ ๐.๑๐
          เมตร จ�รึกตัวอักษร ๓ ด้�น ด้�นที่ ๑ มีอักษร ๒๕ บรรทัด ด้�นที่ ๒ มีอักษร ๒๗ บรรทัด ด้�น
          ที่ ๓ เป็นด้�นที่หน� มีอักษร ๓๑ บรรทัด ลงมห�ศักร�ช ๘๙๓ หรือเป็นพุทธศักร�ช ๑๕๑๔
          ศิล�จ�รึกนี้กล่�วถึงพระน�มกษัตริย์ว่�พระเจ้�ชัยวรมัน  ทรงเป็นร�ชโอรสของพระเจ้�ร�เชน
          ทรวรมัน ทรงสืบเชื้อส�ยม�จ�กจันทรวงศ์ และทรงมีคว�มง�ม ดุจดังพระจันทร์วันเพ็ญ อยู่

          บนท้องฟ้�
                 ๔. จ�รึกบ้�นหินขอน อำ�เภอปักธงชัย จังหวัดนครร�ชสีม�เป็นจ�รึกหลักที่ ๑๒๑
          ประกอบด้วยจ�รึกจำ�นวน ๒ หลัก ที่กล่�วถึงท่�นศรีร�ชภิกษุ ซึ่งเข้�ใจว่�คงจะต้องเกี่ยวข้องมี
          คว�มสัมพันธ์เป็นเครือญ�ติกับกษัตริย์ที่มีน�มว่�ศรีนฤเปนทร�ธิปติวรมัน  เพร�ะในข้อคว�ม
          จ�รึกบทที่ ๖ กล่�วว่� ศรีนฤเปนทร�ธิปติวรมัน โอรสแห่งศรีนฤเปนทร�ธิปติ.. วรมันคือท่�น
          ศรีร�ชภิกษุ  ผู้มีชื่อเสียงบนแผ่นดินที่ได้รับก�รเค�รพจ�กผู้มีชื่อเสียง  ท่�นได้สร้�งเสม�ศิล�
          ๔ หลักที่มีลักษณะงดง�มถว�ยวัด ๑๐ วัด ส่วนจ�รึกหลักที่ ๒ เป็นศิล�จ�รึกหลักที่ ๑๒๒ มี
          คว�มสูง ๘๐ เซนติเมตร กว้�ง ๓๒ เซนติเมตร ย�ว ๒๑ เซนติเมตร กล่�วถึงก�รประก�ศถว�ย
          ของแก่วัดได้แก่พื้นดิน หม�กและสิ่งที่ได้ใช้ในกิจกรรมพิธี ผู้ที่ถว�ยของอ�จเป็นบุคคลเดียวกับ

          ท่�นศรีร�ชภิกษุและได้กล่�วถึงก�รแสดงคว�มปร�รถน�ให้ไปถึงพุทธภูมิ
                 จ�รึกทั้ง ๔ หลักที่นำ�เสนอถือว่�เป็นหลักฐ�นสำ�คัญท�งประวัติศ�สตร์ โบร�ณคดี ที่
          มีข้อคว�มสนับสนุนที่ม�ของชื่อนครร�ชสีม�หรือโคร�ช โดยเป็นก�รนำ�คำ�ว่�โคร�ช และเสม�
          ม�รวมกันซึ่งส�ม�รถนำ�ม�วิเคร�ะห์ได้ดังนี้
                 (๑) จ�รึกกล่�วถึงพระร�ช�แห่งอ�ณ�จักรศรีจ�น�ศะ ทรงอุทิศปสุสัตว์และท�สทั้ง
                                         29
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51