Page 43 - saranuklom2 e-book
P. 43

สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
        Encyclopedia of Korat Study 2



        ชื่อนี้มีคว�มหม�ยว่�เป็นเมืองที่มี  ก�รเลี้ยงโค  หรือวัว  ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีอิทธิพลท�งคว�มเชื่อ
        ของศ�สน�ฮินดูนิก�ยไศวะ  ที่มีก�รนับถือพระศิวะหรือพระอิศวร  วัวหรือโคอันเป็นพ�หนะ
        ของพระอิศวร จึงมีก�รนับถือวัวหรือโคกันม�ก และมีก�รเลี้ยงวัวหรือโคกันม�กอีกด้วย เมือง
        โคร�ชก็ทรงสันนิษฐ�นว่�น่�จะมีช�วอินเดียหรือแขกม�อ�ศัยอยู่ในท้องถิ่นนี้จำ�นวนม�ก

        และช�วไทยก็ได้รับอิทธิพลจ�กอินเดียเป็นอย่�งม�กเช่นกัน  โดยเฉพ�ะได้นำ�ชื่อที่ปร�กฏใน
        วรรณคดีอินเดียม�ตั้งชื่อเมืองต่�ง  ๆ  ในประเทศไทย  เช่น  อโยธย�หรืออยุธย�  ลวปุระหรือ
        ลพบุรี เป็นต้น จึงทรงเห็นว่�เมืองโคร�ช น่�จะได้ชื่อม�จ�กเมืองโคร�ฆะปุระ ซึ่งเป็นก�รนำ�
        คำ�ม�ผสมกันกับเมืองเสม�  กล�ยเป็นคำ�ว่�โคร�ฆะเสม�  กล�ยเสียงม�เป็นโคร�ชเสม�  และ
        กล�ยม�เป็นโคร�ชสีม� เมื่อนำ�คำ�ว่�นคร ซึ่งแปลว่�เมือง ม�เติมลงข้�งหน้� กล�ยเป็น นคร
        โคร�ชเสม� นครโคร�ชสีม� และกล�ยเป็น นครร�ชสีม�ในที่สุด ซึ่งได้ใช้ม�จนถึงปัจจุบัน
                คว�มเชื่ออันเป็นที่ม�ของชื่อนคร�ชสีม� ๓ นี้ มีบ�งคนเชื่อต�มที่ทรงสันนิษฐ�น
        นั้น หรืออ�จมีคว�มเชื่ออย่�งอื่นผสมไปด้วย โดยทุกคนย่อมจะมีอิสระในคว�มเชื่อนั้น
        ซึ่งมิได้มีก�รกำ�หนดบังคับหรือถูกกำ�หนดบังคับให้ต้องเชื่อ  ด้วยเหตุผลนี้จึงมีก�รนำ�ไปแต่ง
        เป็นเพลงบ้�ง  โดยเฉพ�ะเชื่อว่�พื้นที่จังหวัดนครร�ชสีม�คงมีก�รเลี้ยงวัวหรือโคกันม�ก  และ
        ก�รเลี้ยงวัวหรือโคนี้  ย่อมจะต้องมีเจ้�ของหรือระดับหัวหน้�  หรือมีระดับผู้ปกครองที่เป็น

        ร�ช�  เมื่อเป็นดังนี้จึงมีคว�มเชื่อว่�เป็นโคร�ช�  หรือร�ช�ผู้เป็นใหญ่ในก�รเลี้ยงวัวหรือโค
        หรืออ�จหม�ยถึงวัวหรือโคที่ใหญ่  รูปร่�งสมส่วน  แข็งแรง  มีพละกำ�ลังม�กเหม�ะแก่ก�รนำ�
        ไปใช้ง�นในลักษณะปศุสัตว์ เมืองนี้มีชื่อว่�โคร�ช� เมื่อเติมคำ�ว่�นคร เข้�ไปข้�งหน้� จึงกล�ย
        เป็นนครโคร�ช� หรือนครร�ชสีม� ในปัจจุบัน
                ๔.  คว�มเชื่ออันเป็นที่ม�ของชื่อนครร�ชสีม�ประก�รที่  ๔  เป็นคว�มเชื่อที่อิง
        อ�ศัยหลักฐ�นท�งประวัติศ�สตร์  เพร�ะมีคำ�สำ�คัญที่ปร�กฏต�มคว�มเชื่อนี้คือคำ�ว่�  ตำ�บล
        โคร�ช และตำ�บลเสม� ซึ่งอยู่ในท้องที่อำ�เภอสูงเนิน จังหวัดนครร�ชสีม�นั่นเอง ทั้งนี้เพร�ะว่�
        คำ�ทั้งสองเกี่ยวข้องกันและกันในอดีต  จนกระทั่งกล�ยม�เป็นจังหวัดนครร�ชสีม�ในปัจจุบัน
        อันเกิดจ�กคว�มเชื่อที่มีประจักษ์พย�นหลักฐ�นท�งประวัติศ�สตร์ของก�รตั้งถิ่นฐ�นของคน

        โคร�ชสนับสนุนอย่�งชัดเจน ดังที่ปร�กฏในหลักศิล�จ�รึก อย่�งน้อยก็ ๔ หลัก (จำ�เริญรัตน์
        เจือจันทร์, ๒๕๕๒) ซึ่งจะขอนำ�เสนอส�ระสำ�คัญ ดังนี้
                      ๑. ศิล�จ�รึกบ่ออีก� ศิล�จ�รึกนี้เรียกว่�จ�รึกบ่ออีก�ลงพุทธศักร�ช ๑๔๑๑ กล่�ว
        ถึงอ�ณ�จักรศรีจ�น�ศะ อันเป็นอ�ณ�บริเวณเมืองเสม� นักโบร�ณคดีเรียกว่�บ่ออีก� เพร�ะ
        เป็นสถ�นที่ที่พบศิล�จ�รึกนี้ ศิล�จ�รึกได้ถูกจ�รึกเป็นอักษรปัลลวะ สมัยหลังโดยประม�ณ
                                          26
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48