Page 117 - saranuklom2 e-book
P. 117
สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
Encyclopedia of Korat Study 2
เหตุก�รณ์ที่เป็นชนวนคว�มขัดแย้งนำ�ไปสู่วีรกรรมทุ่งสัมฤทธิ์ชนวนก่อนเกิดวีรกรรม
นักประวัติศ�สตร์คือ พล�ดิศัย สิทธิธัญกิจ (๒๕๔๔ : ๑๐๒-๑๑๒) ได้เขียนเล่�ส�ระ
สำ�คัญก่อนเหตุก�รณ์วีรกรรมทุ่งสัมฤทธิ์ไว้ในหนังสือชื่อ ท้�วสุรน�รี วีรสตรีโคร�ช และวิกิพีเดีย
ส�ร�นุกรมเสรี ก็ได้ประมวลเหตุก�รณ์ประวัติศ�สตร์ไว้ โดยได้กล่�วถึงเหตุก�รณ์ก่อนที่จะ
เกิดกบฏเจ้�อนุวงศ์ มีส�ระสำ�คัญดังนี้
เหตุก�รณ์เริ่มแรกเมื่อเจ้�อนุวงศ์ในฐ�นะที่เป็นพระมห�กษัตริย์ร�ชอ�ณ�จักร
เวียงจันทน์ ซึ่งเป็นประเทศร�ชแห่งร�ชอ�ณ�จักรสย�ม ได้เสด็จม�ถว�ยพระเพลิงพระบรม
ศพสมเด็จพระพุทธเลิศหล้�นภ�ลัย รัชก�ลที่ ๒ และได้พิจ�รณ�หรือสังเกตเห็นว่�กองทัพ
ของสย�มประเทศในขณะนั้นมีคว�มอ่อนแอลง ทั้งนี้เพร�ะว่�แม่ทัพน�ยกองทั้งหล�ยที่
มีฝีมือได้สิ้นชีวิตลงจำ�นวนม�ก ทำ�ให้เจ้�อนุวงศ์เริ่มว�งแผนที่จะกอบกู้เอกร�ชจ�ก
ร�ชอ�ณ�จักรสย�ม
ต่อม�เจ้�อนุวงศ์ได้ทร�บข่�วลือว่�สย�มและอังกฤษวิว�ทกันอย่�งรุนแรงในเรื่อง
ก�รทำ�สนธิสัญญ�เบอร์นี (Burney Treaty) ซึ่งเป็นสนธิสัญญ�ท�งพระร�ชไมตรีและก�ร
พ�ณิชย์ฉบับแรกที่ร�ชอ�ณ�จักรสย�มหรือกรุงรัตนโกสินทร์ ได้ทำ�กับประเทศอังกฤษ
ในรัชสมัยของพระบ�ทสมเด็จพระนั่งเกล้�เจ้�อยู่หัว รัชก�ลที่ ๓ ในเหตุก�รณ์ทำ�สนธิสัญญ�
ดังกล่�วมีน�ยเฮนรี เบอร์นี (Henry Burney) หรือที่ไทยมักเรียกว่�น�ยหันแตร บ�ระนี
ได้เป็นทูตเป็นผู้แทนประเทศอังกฤษเดินท�งเข้�ม�ยังกรุงรัตนโกสินทร์ในปีพุทธศักร�ช
๒๓๖๘ เพื่อทำ�ก�รเจรจ�ปัญห�ท�งก�รเมืองและก�รค้� โดยเฉพ�ะในด้�นก�รค้� รัฐบ�ล
อังกฤษมีคว�มประสงค์จะขอเปิดสัมพันธไมตรีท�งก�รค้�กับกรุงรัตนโกสินทร์ และขอคว�ม
สะดวกในก�รทำ�ก�รค้�ได้โดยเสรี ก�รเจรจ�ได้เป็นผลสำ�เร็จในเวล�ต่อม�เมื่อวันที่ ๒๐
มิถุน�ยน พุทธศักร�ช ๒๓๖๙ หลังวีรกรรมทุ่งสัมฤทธิ์สิ้นสุดลงในเดือนมีน�คม และได้มีก�ร
ลงน�มในสนธิสัญญ�ร่วมกันในเวล�ต่อม� สนธิสัญญ�เบอร์นีประกอบด้วยสนธิสัญญ�ท�ง
พระร�ชไมตรีรวม ๑๔ ข้อ และมีสนธิสัญญ�ท�งพ�ณิชย์แยกออกม�อีกฉบับหนึ่งรวม ๖ ข้อ
และข้อที่เกี่ยวข้องกับก�รทำ�ก�รค้� ได้แก่ ข้อ ๕ ที่ให้สิทธิพ่อค้�ทั้งสองฝ่�ย ทำ�ก�รค้�ข�ย
ต�มเมืองต่�ง ๆ ของอีกฝ่�ยหนึ่งได้อย่�งเสรีต�มกฎหม�ย ข้อ ๖ ที่กำ�หนดให้พ่อค้�ทั้งสอง
ฝ่�ยเสียค่�ธรรมเนียมของอีกฝ่�ย และข้อ ๗ ที่ให้สิทธิแก่พ่อค้�ที่ขอตั้งห้�ง ตั้งบริษัท หรือตั้ง
บ้�นเรือนและเช่�ที่โรงเรือนเพื่อเก็บสินค้�ในประเทศอีกฝ่�ยหนึ่งได้ โดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจ
ของกรมก�รเมือง
100