Page 22 - saranuklom2 e-book
P. 22
สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
Encyclopedia of Korat Study 2
ขั้นที่ ๓ วิธีก�รต้มเกลือ
้
ขุดหลุมบริเวณใกล้ ๆ พื้นที่หลุมกรองนำ�เกลือ เพื่อใช้สำ�หรับก่อไฟต้มเกลือ โดยให้
หลุมมีขน�ดพอเหม�ะกับกระทะหรือภ�ชนะที่ใช้ในก�รต้มเกลือ ในอดีตใช้หม้อดินที่ปั้นจ�ก
ดินในพื้นที่น�บริเวณนั้นเป็นภ�ชนะสำ�หรับก�รต้ม เมื่อได้เกลือแล้วทุบหม้อดินทิ้งเพื่อเอ�
เกลือ (บำ�เพ็ญ ไชยรักษ์, ๒๕๕๔ : ๘๕) ปัจจุบันใช้ภ�ชนะที่ทำ�ม�จ�กโลหะ สังกะสี ถังโลหะ
หรือปี๊บตัดแต่งให้มีรูปร่�งเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้�ให้พอเหม�ะกับก�รต้ม โดยใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง
้
ทำ�ให้ไฟติดแรง ว�งภ�ชนะที่ใช้ต้มลงบนเต� แล้วจึงเทนำ�เกลือที่เตรียมไว้ลงบนภ�ชนะต้ม
้
้
้
ให้นำ�เกลือเดือดจนนำ�ระเหยจนแห้ง ในขณะที่นำ�เกลือเดือด ต้องคอยตักหรือช้อนฟองเกลือ
้
และสิ่งสกปรกออกไป เมื่อนำ�แห้งแล้วจะได้เกลือสินเธ�ว์ที่ตกผลึกสีข�วแล้วตักใส่ตะกร้�
้
ไม้ไผ่ที่มีรูระบ�ยอ�ก�ศ พักตะกร้�ทิ้งไว้ให้นำ�และคว�มชื้นไหลซึมออกม�จนแห้งสนิท
ภ�พประกอบ ๓ : เกลือที่ผ่�นกระบวนก�รผลิตเรียบร้อย
แหล่งข้อมูลภ�พ : https://sites.google.com/site/karphlitkelu/kar-phlit-kelux-sintheaw
ขั้นที่ ๔ ก�รจัดเก็บเกลือ
เมื่อเกลือแห้งสนิทแล้วเก็บใส่ภ�ชนะที่เตรียมไว้ให้เหม�ะสมกับก�รใช้ง�น
ซึ่งนิยมเก็บไว้ในไหปิดฝ�ให้สนิทกันอ�ก�ศเข้� บ�งพื้นที่เก็บรักษ�ด้วยก�รบรรจุลงในกระทอ
หรือชะลอมที่รองด้วยใบตองกุงหรือตองช�ด ใช้ใบตองปิดฝ�อีกครั้งแล้วมัดป�กกะทอที่เป็น
ภ�ชนะเก็บให้แน่นหน� กระทอที่บรรจุเกลือจะทำ�ด้วยไม้ไผ่ส�นอย่�งชะลอมเป็นรูปทรงกระบอก
ภ�พประกอบ ๔ : ก�รจัดเก็บเกลือ
แหล่งข้อมูลภ�พ : https://www.google.com/search?safe=active&biw625&tbm=i-
sac&sa=1&ei=S4m5xlmNHYiMvQSG2Z3YBQ&qgws-wizimg…1j1i24.vQx-
4MKo#imgrc=tQax13Ck5YuQ-M
5