Page 23 - saranuklom2 e-book
P. 23

สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
        Encyclopedia of Korat Study 2



        ก�รผลิตเกลือสินเธ�ว์กับปัญห�ด้�นสิ่งแวดล้อม
                ในพื้นที่ภ�คอีส�นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ประม�ณ  ๑  ใน  ๓  ของประเทศ  ลักษณะ

        ภูมิประเทศเป็นที่ร�บสูงมีโครงสร้�งท�งธรณีวิทย�เป็น ๒ ลักษณะ คือ เป็นแอ่ง (Basin) และ
        ขอบแอ่งที่เป็นภูเข�สูง (Mountain Range) ซึ่งแบ่งออกได้เป็น ๒ แอ่ง ที่เรียกว่� “แอ่งโคร�ชกับเเอ่ง
        สกลนคร” ทั้ง ๒ แอ่งนี้มีชั้นเกลือหินที่รองรับอยู่ใต้ดินเป็นโดมเกลือ (Salt Dome) ขน�ดใหญ่
                               ้
                                                              ้
        เมื่อชั้นเกลือหินสัมผัสกับชั้นนำ�บ�ด�ลจะเกิดก�รละล�ยกล�ยเป็นชั้นนำ�เค็มในบ�งพื้นที่
            ้
        ชั้นนำ�เค็มพุ่งขึ้นม�ถึงผิวดินที่มีอุณหภูมิสูงจะเกิดก�รระเหยทิ้งผลึกเกลือเล็ก ๆ อยู่บนบริเวณ
        ผิวดินเป็นคร�บสีข�ว  พื้นที่ดินเค็มที่มีคร�บเกลือสีข�วที่ช�วอีส�นเรียกว่�  ดินเอียดหรือขี้ท�
        หรือช�วโคร�ชเรียกว่� ขี้กะท�หรือส่�เกลือ ซึ่งนำ�ไปผลิตเป็นเกลือสินเธ�ว์ (http://saltsal-
        trock.blogspot.com) ก�รนำ�เกลือสินเธ�ว์ (Salt Rock) ขึ้นม�ใช้โดยเฉพ�ะก�รทำ�น�เกลือ
                                                                          ้
        ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ผลกระทบของคว�มเค็ม ต่อก�รปนเปื้อนในแหล่งนำ�
                                           ้
        จืดที่อยู่ผิวดินหรือใต้ดินทำ�ให้เกิดสภ�พดินและนำ�เค็มเสื่อมโทรมเนื่องจ�กก�รกระจ�ยคว�ม
        เค็มของเกลือออกไป  นอกจ�กนี้ยังทำ�ให้เกิดผลกระทบต่อคว�มรู้สึกสภ�พจิตใจของช�วบ้�น
                                                                       ้
        ที่อ�ศัยอยู่ใกล้กับแหล่งที่ทำ�น�เกลือว่�จะเกิดก�รยุบตัวของพื้นดินเนื่องจ�กก�รสูบนำ�เค็ม
        ใต้ดินม�ผลิตเกลือดังกรณีที่เคยเกิดขึ้นบริเวณบ้�นวัง  อำ�เภอโนนไทย  จังหวัดนครร�ชสีม�
        (http;//saltsaltrock.blogsport.com)  สภ�พปัญห�ก�รทำ�น�เกลือเพื่อผลิตเกลือสินเธ�ว์
        โดยเฉพ�ะในภ�คตะวันออกเฉียงเหนือเป็นปัญห�ยืดเยื้อม�ย�วน�น  เพร�ะมีผลกระทบต่อ
        ก�รทำ�ล�ยสภ�พแวดล้อมให้เสื่อมโทรมไปโดยเร็วทำ�ให้ประช�ชนในพื้นที่ได้รับคว�มเดือดร้อน
                ผลกระทบอีกด้�นหนึ่งในก�รผลิตเกลือสินเธ�ว์คือ  เชื้อเพลิงที่ใช้ในก�รต้มเกลือมี
        ร�ค�แพงและพื้นที่ป่�ที่เป็นแหล่งในก�รผลิตฟืนลดลงทำ�ให้ห�เชื้อเพลิงได้ย�ก  พื้นที่เป็น
        เชื้อเพลิงสำ�หรับก�รต้มเกลือซึ่งส่วนใหญ่เป็นพรรณไม้ในพื้นที่ป่�ชุมชนและพื้นที่ก�รเกษตร
        ของช�วบ้�นเอง  จึงทำ�ให้มีก�รผลิตเกลือน้อยลง  อีกทั้งก�รผลิตเกลือสินเธ�ว์เป็นอ�ชีพรอง

        เนื่องจ�กอ�ชีพหลักคือทำ�น�ข้�วหรือทำ�ก�รเกษตรอย่�งอื่น  ข้อจำ�กัดอีกเรื่องหนึ่งคือด้�นเวล�
        ก�รผลิตเกลือจะทำ�ได้ในช่วงอ�ก�ศร้อนจัด  คือเดือนกุมภ�พันธ์ถึงเดือนเมษ�ยน  ซึ่งดินต้องมี
        ลักษณะแห้งจึงจะได้เกลือสินเธ�ว์ที่มีคุณภ�พดีและมีปริม�ณม�ก (เนตรนภ� รัตนโพธ�นันท์,
                                                            ่
        ๒๕๕๘ : ๑๕) ไม่ส�ม�รถผลิตเกลือได้ตลอดทั้งปี ร�ค�ของเกลือสินเธ�ว์ตำ� คนรุ่นใหม่ไม่สนใจ
        ประกอบอ�ชีพก�รผลิตเกลือสินเธ�ว์  จึงทำ�ให้จำ�นวนผู้ทำ�ก�รผลิตเกลือหรือทำ�เกลือด้วย
        ภูมิปัญญ�ดั้งเดิมของบรรพบุรุษลดน้อยลง (ปัณฉัตร หมอย�ดี,๒๕๕๗)


                                           6
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28