Page 40 - saranuklom2 e-book
P. 40

สารานุกรมโคราชศึกษา ๒
                                                          Encyclopedia of Korat Study 2



          คว�มเชื่ออันเป็นที่ม�ของชื่อ
                 คว�มเชื่อเกี่ยวกับชื่อสะท้อนให้เห็นคว�มจริง คว�มรู้ เหตุผล พฤติกรรมของมนุษย์

          และคุณค่�  เช่น  ชื่อของท้�วสุรน�รี  สะท้อนให้เห็นคว�มจริงท�งประวัติศ�สตร์ว่�เป็นหญิงที่
          กล้�ห�ญ  เป็นหัวหน้�ข้�ร�ชก�ร  ทห�ร  พลเรือน  สู้รบกับกองทัพเจ้�อนุวงศ์  โดยใช้กลยุทธ์
          ส�ม�รถเอ�ชนะกองทัพเจ้�อนุวงศ์อย่�งกล้�ห�ญ  แม้เป็นหญิง  ซึ่งต่อม�พระบ�ทสมเด็จพระ
          นั่งเกล้�เจ้�อยู่หัว  ทรงประจักษ์คว�มจริงข้อนี้  จึงพระร�ชท�นบรรด�ศักดิ์หรือพระร�ชท�น
          ชื่อให้เป็นท้�วสุรน�รี ซึ่งประกอบด้วยคำ�สำ�คัญคือ ท้�ว เป็นตำ�แหน่ง เป็นยศของขุนน�งใน
          สมัยนั้น สุระ แปลว่�กล้� แกร่ง ผสมกับคำ�ว่� น�รี แปลว่�หญิง รวมกันเป็นท้�วสุรน�รี จึง
          อ�จแปลว่�ขุนน�งผู้หญิง ผู้ซึ่งมีคว�มกล้�ห�ญ กล้�แกร่ง เป็นต้น หรืออ�จเป็นชื่อที่แสดงถึง
          คว�มรู้ เช่น ชื่อที่นำ�ม�กำ�หนดเป็นน�มสกุลของคนโคร�ชที่ลงท้�ยด้วยคำ�ว่� นอก ลงท้�ยด้วย
          คำ�ว่� กล�ง หรือลงท้�ยด้วยคำ�ว่�สันเทียะ ก็มีที่ม�อันเป็นคว�มรู้ว่�ชื่อที่นำ�ม�ตั้งเป็นน�มสกุล
          ที่ลงท้�ยด้วยคำ�ว่� นอก ก็คืออยู่บุคคลที่ตั้งครอบครัวหรือตั้งถิ่นฐ�นอยู่ในอำ�เภอนอก อยู่ด้�น
          นอกของอ�ณ�เขตโคร�ช  ในที่นี่หม�ยถึงอำ�เภอบัวใหญ่  อำ�เภอประท�ย  บัวล�ย  หรือสีด�

          เป็นต้น ถือว่�เป็นอำ�เภอนอก ฉะนั้นน�มสกุลจึงลงท้�ยด้วยคำ�ว่�นอก เช่น ศรีนอก จอดนอก
          เป็นต้น ส่วนน�มสกุลที่ลง ท้�ยด้วยคำ�ว่�กล�ง หม�ยถึงชื่อที่นำ�ม�ตั้งเป็นน�มสกุลของบุคคล
          หรือครอบครัว ได้ม�จ�กอำ�เภอโนนสูง อำ�เภอคง เป็นต้น เพร�ะเป็นอำ�เภอที่อยู่ในตอนกล�ง
          ของอ�ณ�เขตโคร�ช จึงมีน�มสกุลลงท้�ยด้วยคำ�ว่�กล�ง เช่น หวังกล�ง ช่วยกล�ง ขออ้อม
          กล�ง เป็นต้น และอำ�เภอที่อยู่ด้�นในของจังหวัด คืออำ�เภอโนนไทย ซึ่งในสมัยก่อนมีชื่อเรียก
          อีกอย่�งหนึ่งว่�อำ�เภอโนนใน  ต่อม�เปลี่ยนชื่อเป็นโนนไทย  อำ�เภอโนนในหรือโนนไทย  เดิม
          เป็นหมู่บ้�นชื่อบ้�นสันเทียะ จึงมีก�รนำ�เอ�ชื่อหมู่บ้�นม�ตั้งเป็นน�มสกุล ลงท้�ยด้วยสันเทียะ
          เช่น เงินสันเทียะ เดิมสันเทียะ เป็นต้น นอกจ�กนั้นชื่อยังสะท้อนให้เห็นว่� เมื่อมนุษย์มี
          ก�รสังเกต จดจำ� สัมผัส และก็นำ�พฤติกรรมก�รสังเกต จดจำ� สัมผัสเหล่�นั้นม�เป็นเหตุผล

          ม�ตั้งเป็นชื่อสะท้อนให้เห็นเหตุผล พฤติกรรมและสะท้อนให้เห็นคุณค่�อีกม�กม�ย ดังนั้นคว�ม
          เชื่อเกี่ยวกับคว�มจริง คว�มรู้ เหตุผล พฤติกรรม และคุณค่� ย่อมแฝงอยู่ในชื่อของโคร�ชหรือ
          จังหวัดนครร�ชสีม�อีกด้วย ซึ่งจะนำ�เสนอเพื่อสะท้อนให้เห็นคว�มเชื่อต่�ง ๆ เกี่ยวกับชื่อ
          ดังกล่�วดังนี้
                 ๑. คว�มเชื่ออันเป็นที่ม�ของชื่อนครร�ชสีม�ประก�รแรก ได้จ�กคำ�บอกเล่�ของ
          เนตร อุตมัง หรือพันโทเนตร อุตมัง (๒๕๔๗) ซึ่งได้เล่�และทำ�ให้คนโคร�ชบ�งคนมีคว�มเชื่อว่�
          ชื่อโคร�ชหรือนครร�ชสีม� ม�จ�กคำ�ว่�วรอ�ชญ� บวกกับคำ�ว่�นคร โดยมีร�ยละเอียดว่�
                                         23
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45